ผลวิจัยอ้างว่าเกลือมีผลทำให้เราติดมันเหมือนการสูบบุหรี่หรือการติดยาเสพติด ด้วยยีนกระตุ้นความอยากตัวเดียวกัน เซลล์สมองและสมองเชื่อมโยงกัน เป็นคำอธิบายว่าทำไมเราถึงลดความเค็มได้ลำบากนัก
การศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ชาวออสเตรียและอเมริกา โดยทดลองจากหนูสองกลุ่ม กลุ่มแรกให้อาหารแบบมีเกลือน้อย และอีกกลุ่มให้หยดน้ำเกลือ
เปรียบเทียมกิจกรรมของสมองระหว่างหนูที่ให้อาหารแบบปกติและและหนูที่อดน้ำเกลือ 3 วัน ต่อจากนั้นก็ให้น้ำบริสุทธิ์
เมื่อพวกหนูต้องการเกลือ เซลล์สมองมันทำให้โปรตีนเชื่อมโยงมากกว่าปกติ ลักษณะอาการเหมือนผู้ติดยาเสพติด เช่น โคเคน เฮโรอิน นิคโคติน
ศาสตราจารย์ ดีเรค เดนตัน แห่งมหาวิทยาลัย เมลเบิร์น กล่าวว่า การศึกษาพิสูจน์สัญชาติญาณดั้งเดิมสำหรับการหิวกระหายเกลือที่มีการจัดการระบบประสาทสนับสนุนการติดสารเสพติดอย่างฝิ่นและโคเคน
การศึกษาแสดงให้เห็นว่าเมื่อสมองได้รับเกลือมันเชื่อว่าจะถูกซ่อมแซมก่อนที่จะเกิดกับร่างกายจริง
ความอยากเกลือจะหายไปเมื่อเลือดจะส่งไปยังสมอง
ศาสตรจารย์ เดนตัน กล่าวว่า มันเป็นเรื่องมหัศจรรย์มากที่ยีนนั้นสามารถตั้งค่า “ปิด” เมื่อมีการสูญเสียโซเดียมและกลับมายังสถานะเดิมในไม่ถึง 10 นาที
มันเป็นกลไกการวิวัฒนาการการเอาตัวรอดขั้นสูง เมื่อสัตว์ขาดน้ำหรือเกลือมันสามารถดื่มบ้าง อย่างที่มันต้องการเข้าไป 5 -10 นาทีและขับออกมาซึ่งจะทำให้ผู้ล่าอ่อนแอน้อยลง
นักวิจัยกล่าวว่าเกลือนั้นสำคัญต่อสุขภาพจนกลายเป็นสัญชาตญาณโบราณที่ฝังลึกในสมอง มันอธิบายว่าทำไมอาหารที่มีรสเค็มถึงอร่อย
จากการทดลอง หนูจะหยุดความรู้สึกความอยากกินเกลือบ้างส่วนลดลง รายงานจากวารสารโปรเซส ออฟ เนชั่น ออฟ ไซส์
ดร.วูฟกัง เลียดเก้ แห่งมหาวิทยาลัยดุ๊ก กล่าวว่า เราประหลาดใจและดีใจที่เห็นว่ามีการปิดกั้นเส้นทางการเสพติดเกลือ
โดยเฉลี่ยแล้วคนอังกฤษบริโภคเกลือ 8.6 กรัมต่อวัน แต่จากคำแนะนำควรบริโภคเกลือเพียง 6 กรัมต่อวัน
ผลการศึกษาล่าสุดจากผู้คนมากกว่า 6,500 คน ไม่มีหลักฐานที่แน่ชัดว่าการลดระดับบริโภคเกลือจะทำให้เสี่ยงต่อโรคหัวใจหรือเสียชีวิตก่อนวัยอันควร แต่ในทางกลับกันเกลือทำให้เพิ่มโอกาสการตายและมีปัญหาด้านหัวใจเพิ่มขึ้น
อย่างไรก็ดีผู้รณรงค์ด้านสุขภาพกล่าวว่าการลดเกลือต้องใช้เวลายาวนานมากจึงจะมีผลกระทบ
ขอบคุณ
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1310992323&grpid=&catid=09&subcatid=0901
ผลวิจัยอ้างว่าเกลือมีผลทำให้เราติดมันเหมือนการสูบบุหรี่หรือการติดยาเสพติด ด้วยยีนกระตุ้นความอยากตัวเดียวกัน เซลล์สมองและสมองเชื่อมโยงกัน เป็นคำอธิบายว่าทำไมเราถึงลดความเค็มได้ลำบากนัก
การศึกษาของนักวิทยาศาสตร์ชาวออสเตรียและอเมริกา โดยทดลองจากหนูสองกลุ่ม กลุ่มแรกให้อาหารแบบมีเกลือน้อย และอีกกลุ่มให้หยดน้ำเกลือ
เปรียบเทียมกิจกรรมของสมองระหว่างหนูที่ให้อาหารแบบปกติและและหนูที่อดน้ำเกลือ 3 วัน ต่อจากนั้นก็ให้น้ำบริสุทธิ์
เมื่อพวกหนูต้องการเกลือ เซลล์สมองมันทำให้โปรตีนเชื่อมโยงมากกว่าปกติ ลักษณะอาการเหมือนผู้ติดยาเสพติด เช่น โคเคน เฮโรอิน นิคโคติน
ศาสตราจารย์ ดีเรค เดนตัน แห่งมหาวิทยาลัย เมลเบิร์น กล่าวว่า การศึกษาพิสูจน์สัญชาติญาณดั้งเดิมสำหรับการหิวกระหายเกลือที่มีการจัดการระบบประสาทสนับสนุนการติดสารเสพติดอย่างฝิ่นและโคเคน
การศึกษาแสดงให้เห็นว่าเมื่อสมองได้รับเกลือมันเชื่อว่าจะถูกซ่อมแซมก่อนที่จะเกิดกับร่างกายจริง
ความอยากเกลือจะหายไปเมื่อเลือดจะส่งไปยังสมอง
ศาสตรจารย์ เดนตัน กล่าวว่า มันเป็นเรื่องมหัศจรรย์มากที่ยีนนั้นสามารถตั้งค่า “ปิด” เมื่อมีการสูญเสียโซเดียมและกลับมายังสถานะเดิมในไม่ถึง 10 นาที
มันเป็นกลไกการวิวัฒนาการการเอาตัวรอดขั้นสูง เมื่อสัตว์ขาดน้ำหรือเกลือมันสามารถดื่มบ้าง อย่างที่มันต้องการเข้าไป 5 -10 นาทีและขับออกมาซึ่งจะทำให้ผู้ล่าอ่อนแอน้อยลง
นักวิจัยกล่าวว่าเกลือนั้นสำคัญต่อสุขภาพจนกลายเป็นสัญชาตญาณโบราณที่ฝังลึกในสมอง มันอธิบายว่าทำไมอาหารที่มีรสเค็มถึงอร่อย
จากการทดลอง หนูจะหยุดความรู้สึกความอยากกินเกลือบ้างส่วนลดลง รายงานจากวารสารโปรเซส ออฟ เนชั่น ออฟ ไซส์
ดร.วูฟกัง เลียดเก้ แห่งมหาวิทยาลัยดุ๊ก กล่าวว่า เราประหลาดใจและดีใจที่เห็นว่ามีการปิดกั้นเส้นทางการเสพติดเกลือ
โดยเฉลี่ยแล้วคนอังกฤษบริโภคเกลือ 8.6 กรัมต่อวัน แต่จากคำแนะนำควรบริโภคเกลือเพียง 6 กรัมต่อวัน
ผลการศึกษาล่าสุดจากผู้คนมากกว่า 6,500 คน ไม่มีหลักฐานที่แน่ชัดว่าการลดระดับบริโภคเกลือจะทำให้เสี่ยงต่อโรคหัวใจหรือเสียชีวิตก่อนวัยอันควร แต่ในทางกลับกันเกลือทำให้เพิ่มโอกาสการตายและมีปัญหาด้านหัวใจเพิ่มขึ้น
อย่างไรก็ดีผู้รณรงค์ด้านสุขภาพกล่าวว่าการลดเกลือต้องใช้เวลายาวนานมากจึงจะมีผลกระทบ
ขอบคุณ
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1310992323&grpid=&catid=09&subcatid=0901
No comments:
Post a Comment